การ เขียนเว็บด้วยภาษา Html เบื้องต้น |
เริ่มต้น พื้นฐาน HTML
ภาษาคอมพิวเตอร์ทุก ๆ ภาษาจะมีโครงสร้างเฉพาะ ภาษา HTML ก็เช่นกัน โครงสร้างของภาษา HTML นั้นเป็นโครงสร้างที่ใช้งานง่าย และเข้าใจได้ไม่ยากนัก รูปแบบโครงสร้างของภาษา HTML มีดังนี้ |
รูปแบบโครงสร้าง HTML |
<html> <head><title> ....ตรงนี้คือส่วนของข้อความที่จะปรากฏที่ Title Bar ของ Browser....</title></head> <body> ....ตรงนี้คือ ส่วนข้อความหรือเนื้อหา รายละเอียดที่ต้องการให้ปรากฏที่ Web browser .... </body> </html>
| |
HTML มีองค์ประกอบ 2 ส่วน คือ ส่วนที่เป็นเนื้อหา และส่วนที่เป็นคำสั่งหรือแท็กรูปแบบโครงสร้างของเอกสาร HTML จะเป็นดังนี้
<HTML>........</HTML> |
เป็นคำสั่งเริ่มต้นและสิ้นสุดเอกสาร HTML |
<HEAD>.......</HEAD> |
ส่วนของ HEAD ของเอกสาร HTML เป็นส่วนที่เราจะสามารถใส่คำอธิบายเว็บเพจ เช่น Title หรือชื่อเรื่องของเอกสาร, Keyword สำหรับการค้นหา ซึ่งเราจะเขียน TAG ในกลุ่มของ HEAD ไว้ภายใน TAG <HEAD>
</HEAD> |
<TITLE>........</TITLE> |
เป็นส่วนแสดงชื่ออกสารโดยจะแสดงที่ไตเติล บาร์ของ วินโดว์ที่ เปิดเอกสารนี้อยู่เท่านั้น |
<BODY>.......</BODY> |
เป็นส่วนที่จะแสดงผลออกไปยังหน้า Web Browser เช่น การแสดงผลรูปภาพ การแสดงผล Contents การสร้างจุดเชื่อมโยง ซึ่งเราจะเขียน TAG ในกลุ่มของ Body ไว้ภายใน TAG <BODY>
.. </BODY> | |
เมื่อลอง สังเกตดูเราจะพบสัญลักษณ์ <...> และ </...> เป็นคู่ จากโครงสร้างจะมี <...> 4 ตำแหน่ง และ </...> อีก 4 ตำแหน่ง ซึ่งลักษณะการเขียน HTML จะมีลักษณะแบบนี้ สัญลักษณ์ <...> เราเรียกว่าการเปิด Tag ส่วน </...> คือการปิด Tag นั้นเอง โดยส่วนใหญ่รูปแบบของการเขียน HTML จะมีการเปิดและปิด Tag แต่ก็มียกเว้นบ้าง สำหรับแท็กบางแท็ก ที่ไม่จำเป็นต้องมีการปิดแท็ก
|
ตารางแสดงตัวอย่าง Tag และคำอธิบาย
<html>...</html> |
= Tag เปิด เป็นจุดเริ่มต้นและสิ้นสุดของเอกสาร |
<head>...</head> |
= เป็น Tag ที่กำหนดชื่อเรื่อง |
<title>...</title> |
= เป็น Tag ที่ใช้แสดงชื่อเอกสารที่ Title Bar ของ Windows ที่เปิดอยู่ |
<body>...</body> |
= Tag เปิด เป็นจุดเริ่มต้นและสิ้นสุด เนื้อหาของเอกสาร |
|
|
<br> |
= เป็น Tag สำหรับขึ้นบรรทัด ใหม่ |
<hr> |
= เป็น Tag กำหนดให้เขียนเส้น ใน Web Page |
|
|
<b>...</b> |
= เป็น Tag สำหรับทำตัวอักษร ให้หนา |
<I>...</I> |
= เป็น Tag สำหรับทำตัวอักษร ให้เอียง |
<u>...</u> |
= เป็น Tag สำหรับทำตัวอักษร มีขีดเส้นใต้ |
|
|
<a>...</a> |
= เป็น Tag กำหนดการเชื่อมโยง |
<img>...</img> |
= เป็น Tag กำหนดการเชื่อมโยง ด้วยรูปภาพ |
<table>...</table> |
= เป็น Tag สำหรับการสร้าง ตาราง |
<td>...</td> |
= เป็น Tag สำหรับกำหนด คอลัมน์ |
<form>...</form> |
= เป็น Tag สำหรับสร้าง Form |
<input>...</input> |
= เป็น Tag สำหรับกำหนด input ใน Form |
<frame>...</frame> |
= เป็น Tag สำหรับสร้าง Frame |
<h1>...</h1> |
= เป็น Tag สำหรับกำหนดขนาดตัวอักษร ซึ่งมีค่าถึง 6 ขนาด เวลาเปลี่ยนขนาดก็แค่เปลี่ยนตัวเลขครับ |
|
คำสั่งกำหนดขนาดตัวอักษร |
รูป แบบคำสั่ง |
ความ หมาย |
ตัวอย่าง |
<H1>ข้อความ</H1> |
หัวเรื่องขนาดใหญ่สุด |
ข้อความ |
<H2>ข้อความ</H2> |
หัวเรื่องขนาดใหญ่ |
ข้อความ |
<H3>ข้อความ</H3> |
หัวเรื่องขนาดกลาง |
ข้อความ |
<H4>ข้อความ</H4> |
หัวเรื่องขนาดกลาง |
ข้อความ |
<H5>ข้อความ</H5> |
หัวเรื่องขนาดเล็ก |
ข้อความ |
<H6>ข้อความ</H6> |
หัวเรื่องขนาดเล็กสุด |
ข้อความ |
<B>ข้อความ</B> |
กำหนดตัวหนา |
ข้อความ |
<I>ข้อความ</I> |
กำหนดตัวเอียง |
ข้อความ |
<U>ข้อความ</U> |
กำหนดตัวขีดเส้นใต้ |
ข้อความ |
<font face="CordiaUPC">ข้อความ</font> |
ตั้งรูปแบบฟอนต์ที่แสดงผล |
ข้อความ |
<font size=+2>ข้อความ</font> |
ปรับขนาดฟอนต์ที่แสดงผล |
ข้อความ |
<font color="#FF0000">ข้อความ</font> |
เปลี่ยนสีฟอนต์ที่แสดงผล |
ข้อความ |
<pre>Text</pre> |
กำหนดเป็น Fixed Font |
Text |
> |
เครื่องหมายมากกว่า |
> |
< |
เครื่องหมายน้อยกว่า |
< |
" |
เครื่องหมายคำพูด |
" |
! |
รหัสแอสกี้ |
! |
คำสั่งขีดเส้น คั่น<HR>เช่นเส้นใต้บรรทัดนี้ไงใช้โดยไม่ ต้องมี</HR> มาปิดท้าย <HR WIDTH=50%> เมื่อต้องการปรับขนาดเส้นให้ยาว 50 % ของหน้าต่าง <HR WIDTH=200> เมื่อต้องการปรับขนาดเส้นให้ยาว 200 พิกเซล <HR SIZE=10> เมื่อต้องการปรับความหนาของเส้นให้เท่ากับ 10 พิกเซล <HR ALIGN=RIGHT width=50%> เมื่อต้องการกำหนดให้เส้นชิดขวา และมีความยาว 50 % <HR NOSHADE> เพื่อแสดงเส้นที่ไม่มีเฉดสี เป็นเส้นทึบไปเลย
|
ตาราง
นิยมใช้ การจัดรูปแบบต่างๆ เพื่อความเป็นระเบีบยและง่ายต่อการมองดูข้อมูลประเภทรูปภาพที่สัมพันธ์กัน |
คำ สั่ง |
ความ หมาย |
<TABLE>...</TABLE> <TABLE BORDER>...</TABLE> <TABLE WIDTH=100%>...</TABLE> <TR>ส่วนคอลัมน์</TR> <TD>เนื้อหาในแต่ละคอลัมน์</TD> <TD COLSPAN=2>...</TD> <TD ROWSPAN=2>...</TD> |
เปิดรูปแบบตาราง-ปิดตาราง ตารางแบบมีเส้นขอบ ตารางมีขนาดเต็มหน้าต่าง 100% ครอบส่วนที่เป็นแถวเดียวกัน ครอบในแต่ละกรอบคอลัมน์ กำหนดให้กรอบนั้นยาวเท่ากับ 2 คอลัมน์ในแถวถัดไป กำหนดให้กรอบนั้นกว้างเท่ากับ 2 แถว | |
ตัวอย่างครับ
Source Code |
ตัวอย่าง |
<TABLE BORDER COLS=1 WIDTH="100%" > <TR><TD>หนึ่ง</TD></TR> <TR><TD>สอง</TD></TR> </TABLE>> |
| |
การจัดวางข้อความในตาราง |
Source Code |
ผลลัพธ์ |
<table BORDER COLS=1 WIDTH="100%"> <tr><td ALIGN=CENTER>กึ่งกลาง</td></tr> <tr><td ALIGN=LEFT>ชิดซ้าย</td></tr> <tr><td ALIGN=RIGHT>ชิดขวา</div></td></tr> </table> |
| |
การปรับแนววาง ข้อมูลบนตาราง
Source Code |
ผลลัพธ์ |
<table BORDER COLS=3 WIDTH="100%"> <tr> <td VALIGN=TOP>ชิดบน<br><br></td> <td VALIGN=CENTER>กึ่งกลาง</td> <td VALIGN=BOTTOM>ชิดล่าง</td> </tr> </table> |
| |
|
การปรับแต่งตารางนั้น เราสามารถทำได้โดยเิพิ่มคุณสมบัติของตารางหรือ การกำหนด attribute ของตาราง เพิ่มเติมเข้าไปในแท็กต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นการเพิ่มในส่วนของ แท็ก <table> แท็ก <tr> และ แท็ก <td> เป็นต้น เราลองมาดูตัวอย่างต่าง ๆ ดังต่อไปนี้
|
การใส่ภาพในเอกสาร HTML ในบทความตอนนี้มีส่วนที่เกี่ยวข้องกับการใช้ภาพ ดังนี้จึงขอให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องของภาพที่จะนำมาใช้ทำเว็บกันซะเลย ซึ่งไฟล์ภาพที่เป็นมาตรฐานที่สามารถนำำมาใส่ในเว็บมีอยู่ด้วยกัน 3 ชนิด โดยแต่ละภาพก็มีลักษณะการนำมาใช้ที่แตกต่างกัน ดังนี้
1. GIF (Graphic Intechange Format) ไฟล์ภาพชนิดนี้ นิยมใช้สำหรับภาพกราฟิคที่เป็นลักษณะลายเล้น ข้อความตัวอักษร หรือภาพการ์ตูนต่าง ๆ ซึ่งมีสีไม่มากนัก เพราะไฟล์ GIF มีค่าสีสูงสุดเีพียง 256 สี ดังนั้นทำให้ภาพกราฟิคที่เราเซฟเป็นไฟล์ประเภท GIF เป็นภาพที่มีลักษณะทึบ และไม่สามารถไล่เฉดสีได้มากนัก แต่ข้อดีของไฟล์ประเภทนี้คือ เราสามารถสร้างและเซฟภาพประเภทนี้ให้มีลักษณะพื้นหลังโปร่งใส (Transparent) ซึ่งสามารถนำภาพเหล่านี้ไปใช้กับพื้นหลังสีอะไรก็ได้ ไฟล์ภาพประเภทนี้มีไฟล์นามสกุลเป็น .gif
2. JPG (Joint Photographic Expert Group) ไฟล์ประเภทนี้สามารถแสดงผลของสีได้สูงสุดถึง 16.7 ล้านสี ดังนั้นจึงเหมาะสำหรับภาพที่มีเฉดสีเยอะ เช่น ภาพถ่ายต่าง ๆ หรือภาพอื่น ๆ ที่มีสีเยอะ นอกจากนี้ยังสามารถเลือกที่จะบีบอัดไฟล์ภาพให้มีขนาดเล็กลงได้ แต่คุณภาพจะลดลง และ่ไฟล์ประเภทนี้ไม่สามารถทำเป็นแบบพื้นหลังโปร่งใส่ได้ ไฟล์ภาพประเภทนี้มีไฟล์นามสกุลเป็น .jpg และ .jpeg
3. PNG (Portable Network Graphic) ไฟล์ประเภทนี้จะมีให้เลือกเซฟ 2 แบบคือ แบบ PNG-8 ซึ่งสามารถแสดงผลสีได้สูงสุด 256 สี และยังสามารถเซฟเป็นแบบ PNG-24 ซึ่งสามารถแสดงผลสีได้สูงสุดถึง 16.7 ล้านสีเหมือนไฟล์ JPG นอกจากนี้ยังสามารถทำเป็นภาพพื้นหลังโปร่งใส เหมือนกับ GIF ได้ด้วย แต่ไฟล์ภาพประเภทนี้จะมีขนาดไฟล์ใหญ่กว่าภาพ JPG มาก ดังนั้นจึงมักใช้เซฟภาพซึ่งมีขนาดเล็ก ๆ แต่มีการใช้สีมาก เช่น ภาพไอคอน ต่าง ๆ ไฟล์ประเภทนี้มีนามสกุล .png
การวางภาพ
<P> ขึ้นย่อหน้าใหม่ โดยจะเว้นบรรทัดให้หนึ่งบรรทัด <BR> ขึ้นบรรทัดใหม่
<CENTER> อะไรก็ได้</CENTER> จัดให้อยู่กึ่งกลางของหน้าต่าง
รูปภาพและการ จัดวาง <IMG SRC="url ชื่อรูปภาพ" ALT="ชื่อแสดง" ALIGN="ระดับภาพ">
ชื่อรูปภาพ ต้องระบุพาธและชื่อไฟล์.สกุล(jpg หรือ gif) ควรเป็นตัวเลขทั้งหมดเพื่อจะได้ไม่เป็นปัญหาในภายหลัง ชื่อแสดง จะปรากฏในกรณีเล่นโหมด Text หรือรูปภาพยังโหลดขึ้นมาไม่สมบูรณ์ ระดับภาพ มี (Top,Middle,Bottom) จะกำหนดระดับภาพเมื่อวางติดกับข้อความ
<IMG SRC="ชื่อภาพ" WIDTH="ความกว้างภาพ" HEIGHT="ความยาวของภาพ">
ระบุเป็นพิกเซล เช่น <IMG SRC="DookDik_016_onion.gif" WIDTH="64" HEIGHT="64">หรือ
|
|