หน้าแรก  Help1 แจ้งข้อแนะนำ

การสร้างเมนูย่อย หรือ Submenu

 

มีสมาชิก สอบถามเข้ามาว่าเว็บไซต์ที่ใช้งานอยู่มีหลายเมนู ค่อนข้างเยอะจะทำยังไงดี ถ้าจะแบ่งออกเป็นกลุ่มเมนู เพื่อให้สั้นลง วันนี้เรามีวิธีการทำเมนูย่อย หรือ submenu มาแนะนำกันครับ โดยมีวิธีการที่ไม่ยาก ดังนี้

การทำเมนูย่อย (sub menu)

1. webmaster Login เข้าสู่ระบบการแก้ไขเว็บไซต์ ( /2222 )

2. เมื่อเข้ามาในระบบการพัฒนาเว็บไซต์  ชี้ไปที่เมนู1. ตั้งค่าทั่วไป1.1 ดูผลการพัฒนา    เพื่อกลับมาหน้าแรก

3. บริเวณกลุ่มเมนูแนวตั้ง

ที่จะแก้ไข ที่เมนูลำดับสุดท้าย จะมีไอคอนจัดการเมนู

  • เพิ่มเมนู / แก้ไขเมนู (Insert Menu / Edit Menu)  : สำหรับเพิ่ม ลบ แก้ไข เมนู
  • ตั้งค่าตัวแปร (Set Value)                                    : เปลี่ยนไอคอน สีเมนู สีพื้นเมนู  ระยะเมนู ฯลฯ
ข้อนี้เราจะทำเมนูย่อย ให้เลือก เพิ่ม / แก้ไขเมนู (Insert Menu / Edit Menu)


4. เมื่อเข้ามาหน้า เพิ่ม / แก้ไข เมนู

ตัวอย่าง การสร้างกลุ่มเมนูย่อย webboard

ช่อง : ชื่อเมนู

ช่อง : ตำแหน่งที่อยู่ Url

Target : การเปลี่ยนหน้า
Webboard
(ใส่ชื่อเมนูตามที่ต้องการ)
คลิ๊กที่ช่อง แล้วพิมพ์ # ลงไปกรณีที่หัวข้อนี้ ไม่มีลิงค์

_self คือ เปลี่ยนแทนที่หน้าเดิม

_blank คือ เปิดหน้าต่างใหม่

_top คือ เปิดทับหน้าเดิมทั้งหมด

_parent คือ เปิดในหน้าเดิม

หากเมนูนี้มีหน้าที่จะลิงค์ไป ให้เลือกจากรายการไฟล์ที่แสดงขึ้นมา
[sub]Webboard1 ลิงค์ภายในเว็บ คลิ๊กที่ช่อง แล้วเลือกจากรายการที่แสดง
กระดานข่าว ลิงค์ภายในเว็บ คลิ๊กที่ช่อง แล้วเลือกจากรายการที่แสดง
 ถาม-ตอบ ลิงค์ภายในเว็บ คลิ๊กที่ช่อง แล้วเลือกจากรายการที่แสดง
Webboard2[endsub] ลิงค์ภายในเว็บ คลิ๊กที่ช่อง แล้วเลือกจากรายการที่แสดง

[sub] ใช้พิมพ์ตอนเริ่มต้น หน้าชื่อเมนูย่อย ลำดับแรก

[endsub] ใช้พิมพ์ตอนปิดท้าย หลังชื่อเมนูย่อย ลำดับสุดท้าย

 

ควรสังเกตุทุกครั้ง ในช่องที่ทำการแก้ไข ว่า cursor ยังกระพริบอยู่ในช่อง หรือไม่

    เพราะหาก cursor ยังกระพริบ การแก้ไขในช่องยังอยู่ในสถานะพร้อมทำงานอยู่ เมื่อคุณกกปุ่ม Save ระบบจึงไม่มีการบันทึกช่องที่ทำการแก้ไข ณ ขณะนั้น

วิธีที่ถูกต้อคือ เมื่อเพิ่ม/แก้ไขข้อมูลในช่องเรียบร้อยแล้ว ให้คลิ๊กเมาส์ ยังพื้นที่ว่าง นอกตารางเมนู เพื่อให้ระบบรู้ว่าสิ้นสุดการแก้ไข

 

5. เสร็จแล้ว ก่อน 


 

Play แล้วกด ปุ่ม Pause เพื่อรอให้โหลดหมดก่อน จะได้ไม่สะดุด


กรณี ทำเมนูย่อย ชั้นที่ 2


ภาพตัวอย่าง เมนูย่อย ชั้นที่ 2

เมนูย่อย ชั้นที่ 1

ใส่ [sub] เริ่มต้นเมนูย่อย

  • [sub]โทรศัพท์มือถือ
  • แท็บเล็ต

และใส่ [endsub] ปิดท้ายเมนูย่อยสุดท้าย
ในภาพด้านล่าง ก็คือ ปิดท้าย "ไม่สามารถใช้งานโทรศัพท์ได้" ที่เป็นเมนูย่อยตัวสุดท้าย


เมนูย่อย ชั้นที่ 2

ใส่ [sub] เริ่มต้นเมนูย่อยของ โทรศัพท์มือถือ

  • [sub]Smartphones
  • Feature Phones
  • Basic Phones[endsub]

    และเมนูย่อย ของแท็บเล็ต
  • [sub]สามารถใช้งานโทรศัพท์ได้
  • ไม่สามารถใช้งานโทรศัพท์ได้[endsub]

 


เมนูที่เกี่ยวข้อง

คู่มือการใช้งาน
คู่มือโปรแกรมสำเร็จรูป
วิธีสร้างระบบสมาชิก
ฟอร์มสำเร็จรูป
ของแต่งเว็บไซต์ บทความทั่วไป การโปรโมทเว็บไซต์ ทริปแนะนำ
THTWEB MANUAL คู่มือการใช้งานเว็บไซต์